สู่โลกเทคโนโลยีสมัยใหม่กับวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

Unlock the Power of Tomorrow with Electrical Engineering at KMUTT

   


รายชื่อบทความและผู้เขียน

1. ยุคของปัญญาประดิษฐ์ใกล้แหล่งกำเนิดข้อมูล
    รศ.ดร.ราชวดี ศิลาพันธ์
    ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มจธ.

2. การประยุกต์ใช้ Machine Learning และ AI ในงานวิศวกรรมไฟฟ้ายุคใหม่
    ดร.อธิป ดุลจินดาชบาพร
    กลุ่มวิจัยการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

3. เทคโนโลยีสื่อสาร 5G + AIoT กับประเทศไทย
     ดร.จักรกฤช กันทอง
     ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

4. ภาวะเชื่อมต่อ (Connectivity)
    ภูวิศ โพธิ์ใหญ่
    หัวหน้าส่วนปฏิบัติการฝ่ายวิศวกรรมศูนย์ข้อมูลแห่งประเทศไทย บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด

5. การปฏิวัติทางรถไฟ : วิศวกรรมไฟฟ้ากำลังเปลี่ยนแปลงการขนส่งอย่างไร
    ผศ.ดร.ชาญชัย เตชะวัชราภัยกุล
    ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

6. เทคโนโลยีการส่งผ่านกำลังไฟฟ้าแบบไร้สาย
    ผศ.ดร.สุภาพงษ์ นุตวงษ์
    ห้องปฏิบัติการวิจัยการประยุกต์ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

7. Digital Twin ระบบไฟฟ้าสำหรับระบบไฟฟ้ากำลังอนาคต
    ผศ.ดร.สุเมธ เนติลัดดานนท์
    ห้องปฏิบัติการวิจัยการประยุกต์ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

7. ระบบการจัดการแหล่งผลิตไฟฟ้าแบบกระจายที่เชื่อมต่อระบบไฟฟ้า
    ผศ.ดร.สุเมธ เนติลัดดานนท์
    ห้องปฏิบัติการวิจัยการประยุกต์ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

9. ระบบควบคุมโรงไฟฟ้าสำหรับพลังงานหมุนเวียน
    พิพัฒน์ พงศะบุตร
    ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค โครงการ Solar power และวิศวกรอาวุโส ฝ่ายบำรุงรักษาปิโตรเคมี บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)

10. การวิเคราะห์สนามแม่เหล็กด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์
      ดร.ณัฐพงศ์ หัชชะวณิช
      ห้องปฏิบัติการวิจัยการประยุกต์ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

11. พื้นฐานมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบไร้แปรงถ่าน
      ดร.ธนพล คำเภา
      ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

12. การพัฒนาเทคโนโลยีชิ้นส่วนทางไฟฟ้าสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าตามมาตรฐานสากล ISO 26262
      รศ.ดร.มงคล กงศ์หิรัญ
      กลุ่มวิจัยเครื่องกลไฟฟ้าและระบบขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

13. การจัดแบ่งประเภทของการเกิดอาร์คภายใน
      ผศ.ดร.ศุภกิตติ์ โชติโก
      ห้องปฏิบัติการวิจัยไฟฟ้าแรงสูง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

14. บทบาทหน้าที่และความท้าทายของวิศวกรไฟฟ้าสำหรับการพัฒนาระบบไฟฟ้ากำลังบนอากาศยานสมัยใหม่
      ดร.อภิชัย สุยะพันธ์
      ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

15. การเปลี่ยนผ่านของพลังงานไทยกับพลังงานหมุนเวียนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
      ดร.ฐนกกร เจนวิทยา
      ศูนย์พัฒนามาตรฐานและทดสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มจธ.

16. เซลล์แสงอาทิตย์แบบบูรณาการ อีกทางเลือกสำหรับยุคเปลี่ยนผ่านพลังงาน
      ดร.ชำนาญ ลิ้มสกุล
      ศูนย์พัฒนามาตรฐานและทดสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มจธ.

17. พัฒนาการของการทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ตามมาตรฐานในประเทศไทย
      ดร.เยาวณี แสงพงศานนท์ ดร.มานิตย์ สีแป้น และดร.ธีรยุทธ์ เจนวิทยา
      ศูนย์พัฒนามาตรฐานและทดสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มจธ.

18. อุปกรณ์หยุดทำงานฉุกเฉิน (Rapid Shutdown) และการลดความเสี่ยงจากระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาตามมาตรฐาน วสท.
      รศ.ดร.อนวัช แสงสว่าง
      ห้องปฏิบัติการวิจัยการประยุกต์ใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

19. การศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่หันไปในทิศทางที่แตกต่างกัน
      นางสาวธนัชพร ไตรรัตนาพงศ์ นางสาวพิชญ์สินี ตรีคณารักษ์ นางสาวพิสชา กังวานเกียรติกุล และอาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช
      ห้องปฏิบัติการวิจัยเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

20. การออกแบบแสงสว่างเชิงชีวพลวัตเพื่อการดำเนินกิจกรรมอย่างมีคุณภาพ
      มาโนช แสนหลวง
      ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีไฟฟ้าและการส่องสว่าง (E-LU) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

21. ประเทศไทยกับปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก
      ผศ.ดร.วิมลศิริ ปรีดาสวัสดิ์
      ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มจธ.
      นายเจษฎา ขุนหอม และนายธนสิน สมที
      นักศึกษาโครงการความสามารถพิเศษ ( Gifted Education ) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

22. เทคโนโลยี IoT กับการยกระดับคุณภาพอากาศภายในอาคาร
      นางสาวซาวานีย์ ดือเร๊ะ นายธนธรณ์ ศักดิ์ชลาธร นายพัสกร โป้สมบุญ และอาจารย์ธวัชชัย ชยาวนิช
      ห้องปฏิบัติการวิจัยเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.

23. แนวทางการควบคุมโคมไฟถนนแบบพลวัตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และลดผลกระทบกับระบบนิเวศน์ในประเทศไทย
      เกรียงไกร พัฒนภักดี
      หัวหน้าห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีไฟฟ้าและการส่องสว่าง (E-LU) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มจธ.
      และเลขาธิการสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย (TIEA)